วันจันทร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 15

     

                  บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  27   กันยายน  2556      ครั้งที่15
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
เวลาเลิดเรียน  12.20


ความรู้ได้จากวิชา  การจัดประสการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย



ความรู้ที่ได้จากวิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

เด็กปฐมวัย หมายถึง  เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิด -6 ปี  โดยมีการพัฒนาการทางด้านร่างกาย  อารมณ์  สังคม  และสติปัญญา  อยู่เสมอๆ


ภาษา  หมายถึง  การสื่อความหมาย ซึ่งต้องมีทักษะทางด้าน  การฟัง การพูด  การอ่าน  การเขียน


มุุมการจัดประสบการณ์ทักษะทางภาษา  คือ มุมหนังสือ  มุมบทบาทสมมติ มุมศิลปะ  มุมดนตรี  มุมวิทยาศาสตร์



วิธีการนำไปใช้

-ส่งเสริมให้เด็กสำรวจและปฏิบัติจริง จากการจัดสื่อนั้นๆเป็นผู็กระทำด้วยตนเอง ฝึกให้เด็กสังเกต ตั้งคำถาม 
-ตอบเพื่อให้เด็กแลกเปลี่ยนความคิดหรือแสดงความคิดเห็นนั้นได้
-สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กล้วนเป็นสื่อในการจัดประสบการณ์ให้เด็ก เช่น ดอกมะลิ สื่อถึงอะไร ดอกบัว
สื่อถึงอะไร เป็นต้น
-ในการจัดสื่อภาษาต้องเน้นถึงภาษาที่เด็กได้รับด้วย
-การจัดสื่อให้เด็กต้องจัดให้เด็กเกิดความอยากรู็อยากเห็น







บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 14



     บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  20   กันยายน  2556      ครั้งที่14
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 

          เวลาเลิกเรียน  12.20น. 


การจัดหน่วยการเรียนรู้ปฐมวัย

             วันนี้อาจารย์ให้จับกลุ่มกับเพื่อนๆ และออกแบบการจัดหน่วยการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย วันนี้กลุ่มของเราทำหน่วย เกี่ยวกัน ต้นกล้วย

หน่วยของต้นกล้วย  ประกอบด้วย

การขยายพันธ์  -การใช้เมล็ด  การใช้หน่อ  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

ประโยชน์   -ลำต้น = ทำกระทง  อาหารสัตว์  ทำอาหาร
                  -ใบตอง= ห่อขนม  บายศรี  ทำกระทง ห่ออาหาร
                  -ผลกล้วย=กล้วยฉาบ  กล้วยปิ้ง  กล้วยทอด
                  -หัวปลี=ใช้ประกอบอาหาร เช่น ต้มข่าไก่

ลักษณะประกอบด้วย -ลำต้น หัวปลี ใบตอง

ชนิดของกล้วย - กล้วยไข่ กล้วยหอม กล้วยเปรี้ยว  กล้วยตานี กล้วยน้ำว้า  กล้วยหอมเขียว

            ต่อจากนั้นก็ทำ  แผนการจัดการเรียนรู็  เลือกหัวข้อจาก หน่วยการเรียนรู้เรื่องกล้วยที่ทำไป  ซึ่งกลุ่มดิฉันเลือก หัวข้อ ประโยชน์ ประโยชน์จากใบตองในการทำกระทง



แผนการจัดการเรียนรู้

ชื่อแผน  กระทงของหนู

          วัถตุประสงค์

1.เด็กสามารถบอกความสำคัญของกระทงได้
2.เพื่อให้เด็กฝึกการจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์
3.เพื่อให้เด็กได้ฝึกกล้ามเนื้อมือในการทำกระทง
4.เพื่อให้เด็กมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนๆ
5.เพื่อให้เด็กกล้าแสดงออก ในผลงานของตน


          สาระการเรียนรู้

การทำกระทง ด้วยตนเอง


         วิธีการดำเนินการ

-ขั้นนำ   ครูสอนเด็ฏร้องเพลงวันลอยกระทง

-ขั้นสอน   
1.สาธิตขั้นตอนการทำกระทง
2.สอนให้เด็กลงมือปฏิบัติ
3.ให้เด็กแสดงผลงานของตนเอง

-สรุป

คุณครูและเด็กร่วมกันสรุปถึงความสำคัญของกระทง


การประเมิน

1.การประกอบความสำคัญของกระทงโดยที่ครูและเด็กร่วมกันสนทนา และออกความคิดเห็นต่างๆ
2.เด็กมีความคิดที่แปลกใหม่ และจิตนาการได้ดีในการทำงาน
3.เด็กหยิบจับ นี่ นั้น โน่น ได้คล้อง และฝึกกล้ามเนื้อมือได้ในระดับดี
4.เด็กสามารถยอมรับ ความคิดเห็นของคนอื่น และแสดงความคิดเห็นของตนเองให้คนอื่นรับรู้ได้
5.พร้อมที่จะโชว์ผลงานของตนเอง


รูป แผนการจัดการเรียนรู้กระทงของหนู














ผลงานกลุ่มของเราค่ะ












วันพฤหัสบดีที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 13

     
              
      

 บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  13   กันยายน  2556      ครั้งที่13
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.


มุม  สำหรับเด็กปฐมวัย

มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา  เช่น  มุมหนังสือ  มุมวิทยาศาสตร์  มุมบล๊อก  มุมดนตรี  มุมบทบาทสมมติ  มุมศิลปะ  มุมดอกไม้ และมุมอื่นๆ เป็นต้น

วันนี้มีกิจกรรมเกี่ยวกับการออกแบบมุมต่างๆ  เพื่อนและกลุ่มของดิฉันต่างได้ทำมุมต่างๆของแต่ล่ะกลุ่มจะไม่เหมือนกัน หนึ่งกลุ่มต่อหนึ่งมุม มุมแต่ล่ะกลุ่มก็จะแตกต่างกันออกไป เช่น  มุมดอกไม้  มุมสัตว์  มุมบทบาทสมมติ  มุมศิลปะ  มุมอาเซียน  มุมสัญญาณจราจร  เป็นต้น


กลุ่มของดิฉันได้ มุมดอกไม้

กลุ่มของดิฉันกำลังลงมือวาดภาพระบายสี


รูปภาพเสร็จสมบูรณ์




แต่ละกลุ่มออกมาบรรยาย

มุมดอกไม้


มุม สัญญาณจราจร


มุม  ศิลปะ


มุม สัตว์


มุม อาเซียน






วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12



บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  6  กันยายน  2556      ครั้งที่12
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.
 
 
 การจัดสภาพแวดล้อม เพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
 
                    -สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกันการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์ประกอบ
                    -เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษา โดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา
 
  หลักการ

                  -สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง                   เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระ ได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน
                 -สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฎิสัมพันธ์ระหว่งเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารทั้งสอง               ทาง คือ ผู้รับกับผู้ฟัง
                -สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ  ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ              โดยคำนึงถึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยากรณ์
               -สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจา แลไม่ใช้วาจา เด็กควรได้รับการมี                   ประสบการณ์และ ปฎิสัมพันธ์หลายๆรูปแบบ
                        มุมประสบการณ์ที่สนันสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
                                                  -มุมหนังสือ        -มุมบทบาทสมมติ
                                                   -มุมศิลปะ           -มุมดนตรี
                                                   -มุมบล็อก           -มุมวิทยาศาสตร์
                                                    -อื่นๆ
                    ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา
              -มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรม
              -เด็กรู้สึกผ่อนคลาย เมื่ออยู่ในมุม
              -บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียน  เช่น ดินสอ สี กระดาษ  กรรไกร    กาว
              -เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน  ออกแบบ
มุมหนังสือ ควรมี ชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัย  มีบรรยากาศ สงบ และอบอุ่น  มีพื้นที่ในการอ่านลำพัง  และเป็นกลุ่ม  มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน
มุมบทบาทสมมติ ควรมี สื่ออุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่นได้  มีพื้นที่เพียงพอ
มุมศิลปะ ควรจัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น สีเมจิก  ดินสอ  ยางลบ กรรไกร   กาว  สำหรับงานตัดและติดแปะ  
มุมดนตรี ควรมีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง เช่น กลอง ฉิ่ง ระนาด ขลุ่ย กรับ  เครื่องเคาะจังหวะ
มุมวิทยาศาสตร์ ควรมีอุปกรณ์ในการ ทดลอง ศึกษาเรื่องต่างๆ ของสิ่งแวดล้อม  ธรรมชาติ และอื่นๆ เพื่อให้เด็กได้ศึกษาด้วยตนเอง  ทดลองด้วยตนเอง
                                   วันนี้มีการคัดลายมือ เพือฝึกความเป็นครู ในอนาคต

                                                         พยัชนะไทย  44 ตัว
 
 


 

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11



บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  30  สิงหาคม 2556      ครั้งที่11
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.


 อาจารย์ให้จับกลุ่มละ  5 คน แล้วคิดทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยโดยอาจารย์แจก กระดาษ                และสีให้ โดยทำสื่อในกระดาษที่อาจารย์แจก เป็นสื่อ การวาดรูป  เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเล่น  วิธีการ
เล่น   การสังเกต และประโยชน์หรือคุณสมบัติที่เด็กจะได้รับในการเล่นสื่อแต่ละ แบบ แต่ละชนิด

กลุ่มของดิฉันคือ   มดหรรษาพาสังเกต


กำลังลงมือ  วาดรูป




 ลงมือช่วยกันระบายสี





 ผลงานที่ทำช่วยกันค่ะ


 



 ชื่อสื่่อ          มดหรรษา พาสังเกต    
                                                                                 

          วิธีการเล่น   โดยการให้ดูมดแต่ละตัว ที่มีสีเหมือนกัน แล้วให้เด็กสังเกต                                                         มดแต่ละตัวที่อยู่ด้านล่างว่า สีมดตัวไหนเหมือนสีมดด้านบน แล้วมดที่อยู่                                       ด้านบน ตรงกับเลขไหน จาก 1-10  เช่น มดตูดสีเหลื่องตรงกับมดหมายเลข 1                                 เป็นต้น


         ประโยชน์   1. ฝึกการสังเกต                                                              
                             2. ฝึกการรู้จักสีต่างๆ                  
                             3. ฝึกการหัดนับเลข                                                     
                             4. สามารถนำมาเป็นการปูพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ได้  
                             5. ฝึกสมาธิในการสังเกต     

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 10



  บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  23  สิงหาคม 2556      ครั้งที่10
          เวลาเข้าสอน  09.00น.       เวลาเรียน 09.00  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

วันนี้เรียนเรื่อง สื่อการเรียนรู้ทางภาษา
  
และทำกิจกรรม สื่อตั้งได้ วาดรูปอะไรก็ได้ตามใจชอบ ดิฉันวาดรููปกบน้อย สีเขียว
นี่คือผลงาน กบน้อย



 และผลงานเพื่อนๆ


ความสำคัญของสื่อการสอน เด็กเรียนรู้ได้ดีจากประสาทสัมผัส เข้าใจง่ายเป็นรูปธรรม จำได้ง่ายและเร็ว

                  ประเภทของสื่อการสอน

1.สื่อสิ่งพิมพ์

-สื่อที่ใช้ระบบพิมพ์ 
 
เด็กได้เรียนรู้ตัวอักษร การใช้คำ ประโยค

หนังสือนิทาน หนังสือพิมพ์ แผนพับ นิตยสาร แบบฝึกหัด พจนานุกรม

2.สื่อวัสดุอุปกรณ์

-สิ่งของต่างๆ

-ของจริง หุ่นจำลอง


3.สื่อโสตทัศนูปกรณ์

-สื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ อุปกรณต่างๆ

-คอมพิวเตอร์  เครื่องเล่นแผ่น


4.สื่อกิจกรรม

-วิธีการที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติ  ทักษะ

-ใช้กระบวนการคิด การปฏิบัติ

 

วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

              

            บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  16  สิงหาคม 2556      ครั้งที่  9
          เวลาเข้าสอน  08.20น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม ออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มของดิฉันได้ทำธงชัก เกี่ยวกับธงชาติ
ของแต่ละประเทศอาเซียน



ตัวอย่าง เช่น ประเทศไทย


ประเทศลาว


ประเทศฟิลิปปินส์


ตัวอย่าง ทั้ง 9 ประเทศ