วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3


           บันทึกอนุทิน
         วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
            วัน/เดือน/ปี 28 มิถุนานยน 2556      ครั้งที่  3

กิจกรรมรับน้อง





         

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6



 บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  19 กรกฎาคม 2556      ครั้งที่  6
          เวลาเข้าสอน  08.10 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

การสอนภาษาและธรรมชาติ


เปรีบยเทียบภาษาและรูปภาพ


เปรียบเทียบภาษาและรูปภภาพ


ดูภาพแล้วร้องเพลงตามภาพ

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4

                                        
บันทึกอนุทิน
         วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
            วัน/เดือน/ปี   5 กรกฏาคม  2556      ครั้งที่  4
          เวลาเข้าสอน  08.20 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

นำเสนอ power point เกี่ยวกับ ทฤษฎีทางพัฒนาการภาษาของเด็กปฐมวัย


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5

                              
                    บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี   12 กรกฏาคม  2556      ครั้งที่  5
          เวลาเข้าสอน  08.14น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

     องค์ประกอบ ของภาษา
แนวคิดของนักการศึกษา
กลุ่มทางสติปัญญา
กลุ่มทางพัฒนาการ
กลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
 Richard and podger แบ่งภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น3กลุ่ม
    1 phonology คือ ระบบเสียงของภาษา 
เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย 
 หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
   2 semantic คือ ความหมายของภาษาและคำศัพท์  
คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
  ความหมายเหมือนกันแต่ใช่คำศัพท์ต่างกัน 
  3 syntax คือ ระบบไวยากรณ์
การเรียงรูปประโยค  เช่นครูตีเด็๋ก  เด็กถูกครูตี
4 pragmatic คือ ระบบการนำไปใช้
ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ

 กลุ่มพฤติกรรมนิยม
1 skinner  
-สิ่งแวดล้อมมีอิธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
-ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
2 John B watson
-ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถทำได้และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขของเด็ก
นักพฤติกรรมเชื่อว่า
-ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
-การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับตัวโดยสิ่งแวดล้อม
-เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
-เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง
-เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กกล้าแสดงออกและทำในสิ่งนั้นได้ดี

1 piaget
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

-ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสื่อสารต้องอาศัยภาษา
2 vygotsky
-สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
-ควรชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

-เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
-ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
-เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช่ภาษาได้เร็ว

1 Noam chomsky
-มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD(Languang Acquisition Device)
-การเรียนรู้ภาษาอยู่กับวุฒิภาวะ
2 O Hobart mowrer
-คิดค้นทฤษฎีความพึ่งพอใจ
-ความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียง
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
-เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัญญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน

1 มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
-นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
-เสียง  ไวยากรณ์  การประกอบ
2 มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
-เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
-การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
-ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3 มุมมองด้านปฎิสัมพันธ์
-เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
-การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-เด็กมีปฎิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา


บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 2

                  

                บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  21 มิถุนายน  2556      ครั้งที่  2
          เวลาเข้าสอน  08.10 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.
  ความหมายภาษา คือการสื่่่อสาร เป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดเห็นและรู้สึก
ความสำคัญภาษา  คือ  เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร  เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้  เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจ เป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงใจ
ทักษะภาษา  ประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
พัฒนาการภาษาของเด็ก  เด็กจะค่อยๆสร้างความรู้และความเข้าใจเป็นลำดับขั้นครูหรือผู้สอนต้องเข้าใจและยอมรับหากพบว่าเด็กใช้ศัพท์หรือไวยากรณ์ไม่ถูกต้องควรมองว่าเป็นกระบวนการของเด็ก



บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 1

                 

           บันทึกอนุทิน
                        วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                                อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  14 มิถนายน  2556      ครั้งที่  
          เวลาเข้าสอน  08.21 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.




                 อาจารย์ สอนเรื่องบล็อก และให้ทำ   จับกลุ่มกันทำ My Map  เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย

แลกเปลี่ยนความคิดใหม่ๆกับเพื่อนๆในห้อง